การเดินสายไฟนั้นมีหลากหลายเรื่องอย่างมากที่เรานั้นจะต้องรู้ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของ “มาตรฐานความปลอดภัย การบำรุงรักษา” ซึ่งจากทเรื่องที่กล่าวมานั้นยังมีอีกหลากหลายอย่างมากด้วยเช่นกัน ที่เรานั้นจะต้องรู้ และ หนึ่งในเรื่องของสำคัญอย่างมากด้วยเช่นกันนั้นคือในเรื่องของ “ข้อกำหนด” ที่เป็นการข้อกำหนดตามมาตรฐานที่จะต้องทำตามกันในการเดินสายไฟ มาลองดูกันดีกว่านะครับว่าในการเดินสายไฟนั้นเราจะต้องเดินสายไฟอย่างไร ให้ถูกต้องตามข้อกำหนด
จะต้องเดินในพื้นที่เปิดกว้าง
ในการเดินสายไฟ นั้นไม่ว่าจะเป็นการเดินสาไยฟชนิดไหนก็ตามนั้นเราจะต้องเดินสายไฟในพื้นที่เปิดกว้างเท่านั้น เพื่อให้ในการเข้าซ่อมบำรุง และ เข้าซ่อมแซมนั้นสามารถทำได้ทันที และ สามารถที่จะเช็คสภาพรางเดินสายไฟ หรือ การเช็คสายไฟ ว่ามีการชำรุดหรือไม่ เพื่อป้องกันอุบัติเหตุ และ ป้องกันไม่ให้เกิดความผิดพลาด และทำให้เกิดไฟฟ้าลัดวงจร หรือ เกิดอัคคีภัยนั้นเอง
เมื่อมีการติดตั้งในพื้นที่ out Door
ในการติดตั้งรางสายไฟนั้นบางทีนั้นอาจจะต้องมีการติดตั้งในนอกพื้นที่ตัวอาคารด้วยเช่นกัน ซึ่งหากว่ามีการติดตั้งในนอกพื้นที่นั้นจะต้องมีการใช้รางสายไฟ ที่สามารถที่จะสามารถกันความชื้น และ กันฝนได้ด้วยเช่นกัน และ ความแข็งแรงของรางสายไฟนั้นจะต้องมีความแข็งแรงมากพอที่ถ้าหากว่าเรานั้นติดตั้งไปแล้ว นั้นจะไม่เสียรูปทรง หรือ ทำให้รูปทรงเดิมนั้นผิดแปลกจากเดิมด้วยเช่นกัน
ต้องไม่มีความเสียหาย
อีกเรื่องนั้นคือในเรื่องของ “ความเสียหาย” นั้น ตามข้อกำหนดนั้นหากว่ามีการติดตั้งนั้นจะต้องไม่มีความเสียไม่ว่าจะเป็นทั้งกายภาพ หรือ แม้แต่ การเกิดการติดตั้งในพื้นที่ที่ทำให้พุกร่อน ที่เกิดขึ้นจากไอ หรือ บริเวณอื่น ๆ ที่อันตรายด้วยเช่นกัน ดังนั้นในเรื่องของพื้นที่การติดตั้งเองก็มีความสำคัญอย่างมากด้วยเช่นกัน ดังนั้นก่อนที่เราจะเดินสายไฟ นั้นเราควรที่ จะลองสำรวจพื้นที่ตัวเองก่อนด้วยเช่นกัน เพื่อที่จะทำให้ในการเลือกพื้นที่ติดตั้ง นั้นมีความปลอดภัยมากขึ้น และ เกิดอันตรายได้น้อยที่สุดนั้นเอง
การเก็บสายไฟ และ หน้าตัด
การเก็บสายไฟ และ หน้าตัดนั้นตามข้อกำหนดนั้นได้มีการระบไว้อย่างชัดเจนว่าในการเดินสายไฟ เข้ารางสายไฟนั้นจะต้องมีพื้นที่ของฉนวน และ หน้าตัดของทั้งหมดนั้นจะต้องมีไม่ขนาดที่ไม่เกิน ร้อยละ 20 % ของหน้าตัดภายในราสงเดินสายไฟ
จำนวนของสายไฟ และ การเก็บสายไฟ
ในการเก็บสายไฟนั้นภายในรางเดินสายไฟนั้นจะต้องมีสายไฟไม่เกิน 30 เส้น เพื่อป้องกันความเสียหายจากสายไฟที่เบียดกันมากเกินไป อาจจะทำหเกิดไฟฟ้าลัดวงจรได้ด้วยเช่นกัน และ ในการเก็บสายไฟนั้นสายไฟที่เป็นสายไฟแกนเดียว และ สายดินนั้นจะต้องมีการวางเป็นกลุ่ม และ มัดรวมไว้เป็นกลุ่มเดียวกันด้วยเช่นกัน
จุดยึดในการวางระนาบ
ในการเดินสายไฟในแนวระนาบนั้นอีกเรื่องที่สำคัญอย่างมากเลยนั้นคือในเรื่องของจุดจับยึดเองก็มีความสัคญอย่างมากด้วยเช่นกัน โดยในการวางแนวระนาบนั้นจุดจับยึดนั้นจะต้องห่างกัน 1.5 เมตร แต่ถ้าหากว่าในกรณที่จำเป็นนั้นสามารถห่างมากกว่า 1.5 เมตรได้ แต่ความยาวของตัวจับยึดนั้นจะต้องไม่เกิน 3 เมตร เพื่อความปลอดภัย
การติดตั้งในแนวดิ่ง
การติดตั้งในแนวดิ่ง ดังนั้นการติดตั้งนั้น ตัวจับยึดนั้น จะต้องไม่เกิน 4.5 เมตร ในระยะของการจับยึด และ ปลายรางสายไฟนั้นจะต้องห่างจากจุดจับยึด ไม่เกิน 1.5 เมตร พร้อมกันนั้นจะต้องมีจุดข้อต่อ เพียง 1 ข้อต่อเท่านั้น เพื่อความปลอดภัยในเรื่องของ การใช้งานในกรณีแนวดิ่ง
ข้อห้ามในการเดินสายไฟ
ในการเดินสายไฟนั้นก็มีข้อห้ามที่หลากหลายอย่างมากด้วยเช่นกัน ซึ่งข้อห้ามในการเดินสายไฟนั้นจะมีเช่น ห้ามต่อรางเดินสายไฟในจุดที่เป็นพื้น หรือ ผนังเด็ดขาด และ ห้ามนำรางสายไฟ นั้นต่อลงดินเด็ดขาด
การดัด และ งอสาย
ในรางสายไฟนั้นในกรณีที่มีการต้องดัด หรือ งอสายไฟภายในรางสายไฟนั้น จะต้องมีพื้นที่ที่ว่างมากที่เพียงพอในรางเดินสายไฟ เพื่อให้สามารถดัด และ งอได้ และ ที่สำคัญนั้นจะต้องไม่มีส่วนที่มีคมภายในรางเดินสายไฟ เพื่อป้องกัน สายไฟนั้นเกิดความเสียหายนั้นเอง
ปลายรางสายไฟ
ที่ปลายรางสายไฟนั้นอีกเรื่องที่สำคัญในการเดินสายไฟนั้นคือในเรื่องของ การปิดปลายรางสายไฟด้วยเช่นกันเพราะว่าในการเดินสายไฟนั้นถ้าหากว่ามีการเดินสายไฟแล้วที่ปลายรางไม่มีการเก็บ หรือ ปิด ปลายรางนั้นอาจจะทำให้มีสิ่งสกปรกต่าง ๆ รวมทั้งอาจจะมีแมลงเข้าไปกัดสายไฟภายในรางเดิน จนทำให้เกิดไฟฟ้าลัดวงจร หรือ อาจจะเกิดความเสียหายภายในรางเดินสายไฟจากปัจจัยภายนอกต่าง ๆ ได้ด้วยเช่นกัน
ซึ่งนอกจากที่กล่าวมานั้นยังมีเรื่องอื่นๆ อีกมากมายเลยด้วยเช่นกันที่จะต้องทำความเข้าใจ เช่น เรื่องของการคำนวณรางสายไฟ และ ยังมีในเรื่องอื่น ๆ อีกมากมายด้วยเช่นกัน ที่จะต้องทำความเข้าใจก่อนที่จะเดินสายไฟ เพราะว่าบางทีนั้นการเดินสาไยฟนั้นมีความสำคัญอย่างมาก และ จะต้องทำด้วยความเข้าใจ และ ติดตั้งด้วยมาตรฐานที่ดีด้วยเช่นกันไม่อย่างนั้นการติดตั้งที่ไม่มีมาตรฐานนั้นอาจจะทำให้เกิดไฟฟ้าลัดวงจร และ ส่งผลให้เกิดอุบัติเหตุได้ด้วยเช่นกัน